สวัสดี

Quarterly Situation

ภาวะอุตสาหกรรมอาหารช่วงครึ่งปีแรก และแนวโน้มในช่วงครึ่งหลังของปี 2550

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

        ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยในชวง 4 เดือนแรกป 2550 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.8 ต่ํากวา คาเฉลี่ยของทั้งป2549 ซึ่งอยูที่รอยละ 8.2 อัตราการใชกํา ลังการผลิตเฉลี่ย 4 เดือนอยูที่รอยละ 53.7 ต่ํากวา คาเฉลี่ยของทั้งป2549 ซึ่งอยูที่รอยละ 55.9

ภาวะอุตสาหกรรมอาหารของไทยชวงครึ่งปแรก และแนวโนมในชวงครึ่งหลังของป 2550

มิถุนายน 2550

1. ภาพรวมอุตสาหกรรมอาหาร

          ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยในชวง 4 เดือนแรกป2550 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.8 ต่ํากวา คาเฉลี่ยของทั้งป 2549 ซึ่งอยูที่รอยละ 8.2 อัตราการใชกําลังการผลิตเฉลี่ย 4 เดือนอยูที่รอยละ 53.7 ต่ํากวา คาเฉลี่ยของทั้งป2549 ซึ่งอยูที่รอยละ 55.9

 

          การสงออกสินคาเกษตรและอาหารมีปริมาณ 12.6 ลานตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 35.5 มูลคาสงออก 247,278 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 16.3 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยสินคาเกษตรและวัตถุดิบอาหารมีการ สงออกขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก สวนสินคาอาหารแปรรูปมีการสงออกขยายตัวในอัตราชะลอลง

 

          การนําเขาในชวง5 เดือนแรกของป2550 มีมูลคา76,599 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 12.5 จากระยะ 5 เดือนแรกของปที่ผานมา สินคาวัตถุดิบอาหารสัตวและเมล็ดพืชน้ํามันมีแนวโนมนําเขาเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผล จากความตองการภายในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ผลผลิตในประเทศเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย

 

1.1 ภาคการผลิต

          ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยเดือนเมษายน 2550 เพิ่มขึ้นรอยละ 6.8 จากเดือน เดียวกันของปีก่อน แตลดลงมากเมื่อเทียบกับเดือนกอนหนาเนื่องจากในชวงเดือนเมษายนของทุกปเปนชวงที่ มีวันหยุดหลายวัน เวลาในการทํางานจึงมีนอย อุตสาหกรรมอาหารสวนใหญจึงเรงผลิตสินคาตั้งแตเดือน มีนาคมเพื่อสะสมสต็อกไวจําหนายในชวงหยุดยาวเดือนเมษายน สงผลใหอัตราการใชกําลังการผลิตเดือนนี้ลด ต่ําลงเหลือร้อยละ 50.7

          ขณะเดียวกันผลผลิตสินคาเกษตรกรรมหลายชนิดเริ่มออกสูตลาด โดยเฉพาะผลไมมีปริมาณ ผลผลิตออกสูตลาดในชวงเวลาเดียวกันคอนขางมากกวาปที่ผานมา สงผลใหผลผลิตเริ่มลนตลาด ราคาที่ เกษตรกรขายได้อยู่ในระดับต่ำ

          ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมอาหารชวง 4 เดือนของป2550 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.8 อัตราการใช กําลังการผลิตเฉลี่ยอยูที่รอยละ 53.7 ต่ํากวาคาเฉลี่ยของทั้งปของป2549 ทั้งอัตราการเพิ่มของผลผลิตและอัตรา การใชกําลังการผลิต เนื่องจากการสงออกมีเปนอุปสรรคจากการแข็งคาของเงินบาท การผลิตสินคาหลายกลุม ประสบภาวะขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบ โดยเฉพาะสินคาประมง และสับปะรด ซึ่งสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรคาดวาผลผลิตสับปะรดสดฤดูการผลิต 2550/51 จะลดลงประมาณ 4 แสนตัน จากการลดพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกรเนื่องจากปญหาราคาตกต่ําในชวงฤดูการผลิตในปที่ผานมา สวนการผลิตเนื้อไกยัง ขยายตัวไมมากเนื่องจากความตองการจากตลาดหลัก โดยเฉพาะญี่ปุนยังคงตึงตัว

1.2 ภาคการค้า

ด้านการนําเข้า

          การนําเข้าเดือนพฤษภาคม 2550 มีมูลคา17,033 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 16.1 จากเดือนเดียวกัน ของปีก่อน และเมื่อรวม 5 เดือนแรก (ม.ค.-พ.ค.) มีมูลค่านําเข้า 76,599 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.5 จากช่วง 5 เดือนแรกของปี 2549

          การนําเขาวัตถุดิบที่ใชภายในประเทศมีแนวโนมเพิ่มขึ้นคอนขางสูงโดยเฉพาะการนําเขาถั่ว เหลืองมีการนําเขาเกือบ 6.4 แสนตันเพิ่มขึ้นกว่า 2 เทาจากชวงเดียวกันของปกอน เพื่อตอบ สนองความตองการ ภายในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับได้ปัจจัยหนุนจากการอนุมัติเปดตลาดนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองในป2550 ตามขอผูกพันภายใตองคการการคาโลกของรัฐบาล ซึ่ง สินคาวัตถุดิบอาหารสัตวและเมล็ดพืชน้ำมัน

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527