สวัสดี

Quarterly Situation

พยากรณ์แนวโน้มอาหารส่งออกครึ่งปีหลังปี 2549 และแนวโน้มปี 2550

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

      พยากรณการสงออกอาหารของไทยไตรมาส 3, 4 ป2549 และแนวโนมปี 2550 ในชวงเวลาที่เศรษฐกิจของประเทศขาดแคลนแรงขับเคลื่อนจากอุปสงคภายใน การสงออกมักถูกยกบทบาทใหเปนความหวังในการกอบกูวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเสมอมา และดูเหมือนวาจะตองดําเนินตอไปในอนาคต สินคา เกษตรและอาหารถือเปนหนึ่งในกลุมสินคาสงออกที่มีศักยภาพของไทย ดังนั้นหลีกเลี่ยงไมไดกับบทบาทในฐานะ ภาคสวนที่ตองสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ยกระดับสวัสดิการของคนในชาติตลอดจนสะสมความมั่งคั่ง ใหกับประเทศ

 

พยากรณ์การส่งออกอาหารของไทยไตรมาส 3, 4 ปี 2549 และแนวโน้มปี 2550

จีระศักดิ์คําสุริย์  แผนกวิเคราะห์ข้อมูล  ฝ่ายบริการข้อมูลและสารสนเทศ  สิงหาคม 2549

          พยากรณการสงออกอาหารของไทยไตรมาส 3, 4 ป2549 และแนวโนมป2550 ในชวงเวลาที่เศรษฐกิจของประเทศขาดแคลนแรงขับเคลื่อนจากอุปสงคภายใน การสงออกมักถูกยกบทบาทใหเปนความหวังในการกอบกูวิกฤตการณทางเศรษฐกิจเสมอมา และดูเหมือนวาจะตองดําเนินตอไปในอนาคต สินคา เกษตรและอาหารถือเปนหนึ่งในกลุมสินคาสงออกที่มีศักยภาพของไทย ดังนั้นหลีกเลี่ยงไมไดกับบทบาทในฐานะ ภาคสวนที่ตองสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ยกระดับสวัสดิการของคนในชาติตลอดจนสะสมความมั่งคั่ง ใหกับประเทศ

          ในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทยใหสามารถขับเคลื่อนไปสูเปาหมายนั้น ไดริเริ่มดําเนินการบาง แลวโดยไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาในทุกหวงโซการผลิต เริ่มตั้งแตภาคการผลิตในระดับฟารมจนถึงโรงงาน แปรรูป เพื่อใหสามารถผลิตสินคาที่มีมาตรฐานตามความตองการของตลาด เชนการปรับโครงสรางสินคาเกษตร นโยบายทําตลาดเชิงรุกเพื่อเผยแพรความเปนไทยออกสูสากล เชนนโยบายครัวไทยสูโลก ซึ่งนโยบายตางๆเหลานี้ หากมีการดําเนินการอยางจริงจัง ตอเนื่องและครอบคลุม จะมีสวนชวยเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันของ อุตสาหกรรมอาหารของไทยใหมีเสถียรภาพและยั่งยืนในระยะยาว

               อยางไรก็ตาม ปญหาสําคัญในระยะสั้นที่จะกระทบภาคการสงออกคือ แนวโนมการแข็งคาของเงินบาทที่ อยูในอัตราสูงเมื่อเทียบกับคาเงินในภูมิภาคและคาเงินของประเทศคูคาผูประกอบการอาหารสงออกหลายรายเริ่ม ประสบปญหาในการทํากําไร ประกอบกับกําลังซื้อทั้งในและตางประเทศที่ลดลงตามภาวะการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ผูประกอบการจึงชะลอการปรับราคาสินคาใหสอดคลองกับตนทุนการผลิตและเงินบาทที่แข็งคาขึ้น สงผลใหกําลัง การผลิตมีแนวโนมลดลงตามการชะลอคําสั่งซื้อของผูนําเขาขณะที่ความหวาดวิตกจากสถานการณการกอการรายขอ พิพาทและความขัดแยงจากปญหาการเมืองภายนอกประเทศ อาจทําใหราคาน้ํามันในตลาดโลกยังคงผันผวนอยูใน ระดับสูงและมีโอกาสปรับตัวสูงขึ้นไดอีกจากฐานปปจจุบัน ซึ่งจะสรางแรงกดดันตอภาวะเศรษฐกิจโลกและ เศรษฐกิจประเทศคูคาของไทยใหชะลอตัวลง

          ดังนั้นในรายงานฉบับนี้จะนําเสนอสถานการณเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ ในภาวะปจจุบัน และแนวโนมในป2550 ที่จะสงผลกระทบตอภาวะการผลิตและการคาอาหารของไทย เพื่อนําปจจัยที่เกี่ยวของมาประเมินสถานการณอาหารสงออกของไทยในครึ่งหลังของป2549 และแนวโนมป2550 โดยอาศัยหลักการทางดาน เศรษฐศาสตรดังมีรายละเอียดที่จะนําเสนอตอไป

1. สถานการณเศรษฐกิจในรอบ 6 เดือนที่ผานมาและแนวโนมครึ่งหลังของป2549

1.1 ภาวะเศรษฐกิจโลก

          เศรษฐกิจกลุมประเทศ G-3 (สหรัฐอเมริกา ญี่ปุนและสหภาพยุโรป) ซึ่งเปนคูคาหลักของไทยยังมี อัตราขยายตัวอยูในเกณฑดีในไตรมาสแรก ขณะที่ไตรมาสที่2เศรษฐกิจสหรัฐฯและญี่ปุนขยายตัวในอัตราชะลอลง สวนเศรษฐกิจของ สหภาพยุโรปขยายตัวดีตอเนื่อง

 

          - เศรษฐกิจสหรัฐฯ ในไตรมาส 2 ขยายตัวรอยละ 3.5 ชะลอลงจากรอยละ 3.7 ในไตรมาสแรก เงินเฟอ พื้นฐาน (Core PCE) ในเดือนมิถุนายนเพิ่มขึ้นรอยละ 2.4 เบนออกจากกรอบที่Fed ตั้งเปาไวที่รอยละ 2.0 ดุลบัญชี เดินสะพัดไตรมาสแรกปรับลดลงเล็กนอยจากไตรมาสกอนแตยังถือวาอยูในเกณฑสูง ขณะที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ เลือกแนวทางการคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Fed Funds Rate) ไวที่รอยละ 5.25 ในการประชุมคณะกรรมการนโยบาย การเงินสหรัฐฯ (Federal Open Market Committee: FOMC) เมื่อวันที่8สิงหาคม 2549 ภายหลังมีหลายปจจัยสง สัญญาณวาเศรษฐกิจกําลังชะลอตัว

          สําหรับครึ่งปหลังเศรษฐกิจสหรัฐฯมีแนวโนมขยายตัวในอัตราชะลอลงกวาสองไตรมาสแรกเนื่องจาก สถานการณเงินเฟอที่ยังคงกดดันเศรษฐกิจสหรัฐฯอยางตอเนื่อง และคาดวาครึ่งหลังเศรษฐกิจสหรัฐฯจะขยายตัว ประมาณรอยละ 3.2 คาเฉลี่ยทั้งปอยูที่รอยละ 3.4

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527