สวัสดี

Quarterly Situation

แนวโน้มการส่งออกน้ำผลไม้ของไทย

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :


          น้ำผลไมของไทย โดยเฉพาะน้ำาสับปะรดเปนผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ (By product) เพียงไมกี่ชนิดที่สามารถสรางรายได้จาก การสงออกสูงถึง 7-8 พัน ลานบาทตอปโดยมีสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาเปนตลาดรองรับการสงออกสําคัญมีสัดสวนใกลเคียงกัน ประมาณร้อยละ 30

 

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

น้ำผลไมของไทย โดยเฉพาะน้ำาสับปะรดเปนผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ (By product) เพียงไมกี่ชนิดที่สามารถสรางรายได้จาก การสงออกสูงถึง 7-8 พันลานบาทตอปโดยมีสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาเปนตลาดรองรับการสงออกสําคัญมีสัดสวนใกลเคียงกัน ประมาณร้อยละ 30

ในป 2548 สหภาพยุโรป (European Union: EU) คือตลาดสงออกน้ําผลไมท่ใหญีที่สุดของไทย มีปริมาณสงออก 78,446 ตัน คิดเปนสัดสวนรอยละ 34.8 (เนเธอรแลนด 21.9%, สเปน 4.8%, อิตาลี3.3%, สหราชอาณาจักร 1.6%, ฝรั่งเศส 1.6%)

          ด้วยประชากรของ EU ที่มีจํานวนรวมกันเกือบ 460 ลานคนในป 2548 ขณะที่การรวมกลุมเปนสหภาพสงผลให้ EU เปนเขต เศรษฐกิจและตลาดการคาที่มีขนาดใหญที่สุดแหงหนึ่งของโลก วัดจากผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ประมาณ 13.4 ลานลาน ดอลลารสรอ. คาดวาในป2549 จะเพิ่มอีกไมต่ํากวารอยละ 2.0 เป็น13.89 ลานลานดอลลาร์ สรอ. รายไดตอหัวของประชากร EU อยูที่ ประมาณ 29,200 ดอลลาร สรอ.ตอคนตอปและคาดวาในป 2549 จะเพิ่มเป็น 30,120 ดอลลารสรอ.ตอคนตอปขณะที่อัตราเงินเฟออยู ที่รอยละ 2.3 สวนอัตราวางงานในป 2549 จะลดลงจากรอยละ 9.0 ในป2547 มาอยูที่รอยละ 8.5 ในป 2549 ซึ่งตลาดที่มีขนาดใหญ ตามจํานวนประชากร ภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวของ EU รายไดต่อหัวทีเพิ่มขึ้น่ อัตราเงินเฟออยูในระดับมีเสถียรภาพ ประกอบกับอัตรา การวางงานมีแนวโนมลดลง จะชวยเพิ่มกําลังซื้อของผูบริโภคใน EU ใหสูงขึ้น สงผลดีตอการคาของไทยที่มีEU เปนตลาดสงออกสําคัญ ในลําดับสาม

ผลการวิเคราะห

สําหรับการวิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตรใชสถิติการนําเขาของสหภาพยุโรปเปนขอมูลประมาณการแนวโนมอุปสงคตอความ ตองการนําเขาน้ําผลไมจากไทย ทั้งนี้การวิเคราะหอุปสงคการนําเขาอาศัยปจจัยที่มีอิทธิพลตอปริมาณการนําเขาที่สําคัญ 3 ประการ ประกอบดวย รายไดประชากร (Income) หรือรายไดประชาชาติ(GDP) ราคาสินคานําเขา(Import Price) และราคาสินคาภายในตลาด สงออกนั้นๆ (Domestic Price) หรือราคาสินคาทดแทน (Price of Substitution Goods) สําหรับสินคาที่นํามาศึกษาครอบคลุมหมวด HS 2009 ทั้งหมด

ผลจากการประมาณการพบวาแนวโนมการส่งออกน้ำผลไมของไทยในปี 2549 คาดวาจะมีปริมาณสงออก 69,914 ตัน มูลคา 55.175 ลานยูโร มูลคาตอหนวยที่ลดลงรอยละ 6.9 แสดงวาปริมาณจะขยายตัวเพิ่มขึ้นมากกวามูลคาโดยคาดวา ปริมาณจะขยายตัวร้อยละ 9.9 มูลคาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4

นอกจากผลการประมาณการทางดานเศรษฐศาสตรแลวการศึกษาวิเคราะหตลาดเชิงลึก โดยเฉพาะแนวโนมพฤติกรรม ผูบริโภคเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ซึ่งปจจัยเหลานี้จะสะทอนผานขอจํากัดและความเสี่ยงตอการขยายตลาดน้ําผลไมใน EU ขณะเดียวกันก็ จะบงชี้วายังมีเงื่อนไขอื่นใดหรือไมที่เปนโอกาสทางการตลาดในการรองรับการเติบโต ซึ่งจากการคนควาไดขอมูลพอสรุปไดดังตอไปนี้

ปจจัยสนับสนับ/โอกาสทางการตลาด

  1. แนวโนมความนิยมในการบริโภคน้ําผลไมจากตางประเทศ (Exotic fruit) ของคนในยุโรปมีมากขึ้น โดยเฉพาะน้ําผลไมจาก ผลไมเมืองรอน (Tropical fruit) ประกอบกับการเติบโตของอุตสาหกรรมน้ําผลไมน้ําอัดลม ตลอดจนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑนม สงผลให ความตองการน้ําผลไมเพื่อใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมดังกลาว มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามไปดวย
  2. กระแสความใสใจในสุขภาพสงผลใหคนหันมานิยมเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพมากขึ้น น้ําผลไมที่เติมสารสกัดจากธรรมชาติ เชนสมุนไพร วิตามินหรือเกลือแรกําลังไดรับความนิยม นับเปนโอกาสของผูประกอบการของไทยซึ่งมีวัตถุดิบเหลานี้ใหเลือกสรรและ นําเสนอสูตลาดจํานวนมาก นอกจากนี้น้ําผลไมออแกนิกสก็เปนอีกผลิตภัณฑหนึ่งที่มีแนวโนมเติบโตไดดีเชนกันแมปจจุบันความนิยม ในการบริโภคยังอยูในวงจํากัด
  3. เนื่องจากอุปสงคของน้ําผลไมจากไทยมีคาความยืดหยุนตอรายไดสูง ดังนั้นสามารถนําตัวแปรทางดานรายไดไปใชในการ วางกลยุทธดานการตลาดเพื่อกระตุนยอดขายโดยการสรางความแตกตางใหกับสินคาการสรางมูลคาเพิ่ม ซึ่งเปนปจจัยที่ทําให ผูประกอบการสามารถตั้งราคาจําหนายใหสูงขึ้นเพื่อเจาะกลุมผูบริโภคและขยายโอกาสในการแขงขันตอไป
  4. โครงสรางอายุของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป ประชากรสูงอายุที่เพิ่มจํานวนมากขึ้นจากความเจริญกาวหนาทางการ แพทยซึ่งประชากรกลุมนี้มีกําลังซื้อคอนขางสูง ดังนั้นผลิตภัณฑน้ําผลไมซึ่งเปนผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพมีโอกาสไดรับความสนใจจากคน กลุมนี้เพิ่มขึ้น
  5. เศรษฐกิจที่มีแนวโนมขยายตัว ทําใหรายไดตอหัวของประชากร EU สูงขึ้น ผูคนมีกําลังในการจับจายใชสอยสินคามากขึ้น นอกจากนี้ภาวะเศรษฐกิจที่บีบรัดทําใหรานอาหาร สถานบันเทิงตางๆไดรับความนิยมจากประชาชน เครื่องดื่มประเภทที่จําหนายผาน ชองทางดังกลาวจึงมีโอกาสขยายตัวไดดี 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527