สวัสดี

Quarterly Situation

พยากรณ์การส่งออกอาหารของไทยไปยังสหรัฐอเมริกา ปี 2549

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :


 

        สหรัฐอเมริกาเปนตลาดสงออกอาหารสําคัญของไทยในลําดับที่2รองจากญี่ปุจจุบันมีนสัดส่วนมูลคาสงออกรอยละ 16-17 ของอาหารสงออกรวม  สามารถนํารายไดเขาประเทศในป2547 กว83,000า ลานบาท หรือรอยละ 1.3 ของ GDP การที่ไทยตองพึ่งพา ตลาดสหรัฐฯอยางมากขณะที่สถิติการนําเขาของสหรัฐฯพบวสหรัฐฯพึ่งพาการนําเขาาอาหารจากไทยลดลง จึงมีความจําเปนที่ตองอาศัย เครื่องมือทางเศรษฐศาสตรในการพยากรณการสงออกอาหารของไทยในระยะสั้นไปยังตลาดดังกลาว เพื่อใหเห็นทิศ างและแนวโนมการ เปลี่ยนแปลงอันจะเปนประโยชนในการวางแผนการผลิตการตลาดของผูประกอบการและดําเนินนโยบายสนับสนุนของหนวยงานภาครัฐ

 

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

สหรัฐอเมริกาเปนตลาดสงออกอาหารสําคัญของไทยในลําดับที่ 2 รองจากญี่ปุจจุบันมีนดัวนมูลคาสงออกรอยละ 16-17 ของอาหารสงออกรวม สามารถนํารายไดเขาประเทศในป2547 กวา 83,000 ลานบาท หรือรอยละ 1.3 ของ GDP การที่ไทยตองพึ่งพา ตลาดสหรัฐฯอยางมากขณะที่สถิติการนําเขาของสหรัฐฯพบวสหรัฐฯพึ่งพาการนําเขาาอาหารจากไทยลดลง จึงมีความจําเปนที่ตองอาศัย เครื่องมือทางเศรษฐศาสตรในการพยากรณการสงออกอาหารของไทยในระยะสั้นไปยังตลาดดังกลาว เพื่อใหเห็นทิศ างและแนวโนมการ เปลี่ยนแปลงอันจะเปนประโยชนในการวางแผนการผลิตการตลาดของผูประกอบการและดําเนินนโยบายสนับสนุนของหนวยงานภาครัฐ

จากการพยากรณสถาบันอาหารคาดวการสงออกอาหารของไทยไปยังสหรัฐอเมริกาในป2549 จะมีปริมาณ 1.366 ลานตัน ขยายตัวไดอยละ4.5เพิ่มขึ้นจากตัวเลขในป 2548ที่คาดการณีปริมาณสาจะมงออก1.307 ลานตัน

สําหรับมูลคาสงออกในป 2549คาดวาจะมีจํานวน 107,945 ลานบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 15.1 จากป 2548 ที่คาด วาจะมีมูลค่า 93,814 ลานบาท หลังจากที่ใน 10 เดือนแรกของป 2548 มีมูลคาสงออกแลวกว่า 73,000 ลานบาท

สินคาหลักที่บสนั ุนใหการสงออกอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯแตะระดับ 1 แสนลานบาทเปนครั้งแรกในป 2549 ได้แก่

สวนสินคื่นสามารถศึกษาจากขาอูลในตารางดังตอมอไปนี้

ัจจัยสนับสนุนหลัก

ในแตละปทั้งนี้เปนการคาดการณื้องตเบนภายใตสมมติฐานวพฤติกรรมการบริโภคของชาวอเมริกันไมาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มากนักและไมบรวมความตนัองการบริโภคที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นในแตละปแตหากเกษตรกรและอุตสาหกรรมในพื้นที่ดังกลาวมี ระยะเวลาฟนตัวลาชาออกไป ความเสียหายก็จะเพิ่มขึ้นตามไปดวย นับเปนโอกาสดีไี่ยจะผลักดันการสงออกกุงเขาไป ทดแทนอุปทานกุงที่ขาดหายไปในตลาดสหรัฐฯ สําหรับผลิตภัณฑประมงอื่นๆซึ่งไทยมีสวนแบงตลาดอยูในสัดสวนที่สูงเชน ทูนาแปรรูปหมึกและปลาแปรรูปตางๆก็นาจะไดรับความเสียหายในลักษณะเชนเดียวกันอาจมากและสัดสวนแตกตาง กันไป

ญหาและอุปสรรคสําคัญ

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527