• ความหวานในขนมทองหยอด

    น้ำตาล สารที่ให้รสหวานที่มีหลายรูปแบบ หลายลักษณะ เช่น น้ำตาลทราย น้ำตาลกรวด น้ำตาลก้อน น้ำตาลปีบ เป็นต้น  คนไทยนิยมใช้น้ำตาลในครัวเรือนเพื่อปรุงอาหารคาว หวาน ส่วนในอุตสาหกรรมการผลิต 

  • เชื้อก่อโรคในขนมถ้วย

    ขนมถ้วยหน้ากะทิ หรือขนมถ้วยตะไล เป็นขนมหวานไทยโบราณชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นตัวเนื้อ และส่วนที่เป็นตัวหน้า ส่วนตัวเนื้อจะมีรสชาติหวาน สีเขียวอ่อนจากใบเตย ส่วนตัวหน้าจะมีส่วนผสมของกะทิ มีความมัน และเค็ม ขั้นตอนการทำก็ไม่ยุ่งยาก

  • อะไรอยู่ใน.... ลูกเกด

    ลูกเกด ผลิตภัณฑ์จากองุ่นที่ได้จากการนำผลองุ่นสดมาตากแดดเพื่อให้องุ่นแห้ง และกลายเป็นสีน้ำตาลคล้ำจนเกือบดำ หรือหากผ่านกระบวนการอบแห้งก็จะได้ลูกเกดสีทอง ลูกเกดไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ของไทย แต่มีแหล่งผลิตใหญ่อยู่ที่สหรัฐอเมริกา 

  • เชื้อก่อโรคในขนมครก

    ขนมครก  ขนมหวานของไทยแบบโบราณ ที่หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดและริมบาทวิถี แต่ดั้งเดิม กรรมวิธีการทำขนมครกจะใช้ข้าวเจ้านำมาแช่น้ำโม่รวมกับหางกะทิ และมะพร้าวทึนทึกขูดฝอยผสมเกลือเล็กน้อยใช้เป็นตัวขนม  ส่วนหน้าของขนมครกจะใช้หัวกะทิ  

  • สารกันบูดในกะปิ

    น้ำพริกกับข้าวสวย กินคู่กับผักสด ผักลวก ปลาทูทอด เมนูหลักที่ขาดไม่ได้ในสำรับกับข้าวของคนไทย อาหารง่ายๆ ที่รังสรรค์  โดยใช้วัตถุดิบที่หาได้ตามท้องถิ่นที่ขึ้นชื่อที่สุดของน้ำพริก และเครื่องเคียงที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย คงหนีไม่พ้นน้ำพริกกับข้าวสวย กินคู่กับผักสด ผักลวก ปลาทูทอด 

  • เชื้อก่อโรค ในตำซั่ว

    ส้มตำ เป็นอาหารที่ดัดแปลงได้หลายรสชาติ ตามความต้องการของผู้รับประทาน เผ็ดน้อย ชอบถั่วเยอะ เป็นส้มตำไทย ใส่ปู ผสมปลาร้า เป็นปูปลาร้า รสชาติจัดจ้าน ปัจจุบันมีส้มตำรสชาติแปลกๆ มากมาย ทั้งตำหมูยอ ตำแคบหมู ตำมั่ว ตำซั่ว สองอย่างหลังนี้เป็นส้มตำ

  • โลหะหนักในใบชา

    ชา เครื่องดื่มกลิ่นหอมที่มีผู้บริโภคมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากน้ำ เพราะชามีคุณประโยชน์มากมาย ทั้งสารต้านอนุมูลอิสระ ลดอัตราการเกิดมะเร็ง ลดการเกิดตะกอนในเส้นเลือดฝอย และอื่นๆ อีกมาก ชา มีการปลูกในประเทศไทยตามภูเขาทางภาคเหนือของประเทศ  โดยกระจายอยู่ในหลายจังหวัด 

  • มีอะไรในก๋วยเตี๋ยวหมูน้ำตก …….

    ก๋วยเตี๋ยวไม่ใช่อาหารไทยแต่เดิม  ทว่ามีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศจีน ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี สมัยนั้นเกิดภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำ ประเทศไทยก็ได้รับผลกระทบนี้เช่นกัน จึงมีการสนับสนุนให้คนไทยรู้จักทำมาค้าขาย โดยแนะนำให้ “ขายก๋วยเตี๋ยว” 

     

  • คาราจีแนน กับอาหารสำเร็จรูป

    วันนี้คอลัมน์ มันมากับอาหารขอนำเสนอเรื่องราวของวัตถุเจือปนอาหาร ซึ่งวงการอุตสาหกรรมอาหาร มักใช้เติมเพื่อให้อาหารมีคุณลักษณะตามต้องการหรือยืดอายุการเก็บ ชนิดแรกที่ขอนำเสนอให้รู้จักคือ คาราจีแนน เป็นสารที่สกัดได้จากสาหร่ายทะเลสีแดง (Rhodophyceae)                                                                           

  • ดินประสิวในกุนเชียง

    กุนเชียง เป็นการถนอมอาหารพื้นบ้านมีที่มาจากจีนแผ่นดินใหญ่ กรรมวิธีการทำกุนเชียงในสมัยก่อนไม่ได้ยุ่งยาก นำเนื้อหมูมาสับแล้วผสมเครื่องปรุงรสตามชอบ เสร็จแล้วยัดไส้ตากจนแห้งก็นำมาทานได้ ปัจจุบันมีการปรับปรุงวัตถุดิบให้หลากหลายขึ้น โดยใช้เนื้อปลาและเห็ดมาผสมตามสูตร ก็จะได้กุนเชียงปลา กุนเชียงเห็ดเหมาะสำหรับคนรักสุขภาพ

Page: 17 of 33 page(s)