สวัสดี

Quarterly Situation

พยากรณ์การส่งออก ปี 2549

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

         ในชวงตนปที่ผานมา เศรษฐกิจไทยโดยรวมมีตัวแปรสงสัญญาณขยายตัวไดดีโดยเฉพาะการสงออกยังคงเปนปจจัย ขับเคลื่อนหลัก ขณะที่การนําเขามีอัตราเร่งลดลงส่วนสถานการณ์เศรษฐกิจไทยในระยะที่เหลือของปี 2549 นอกจากสถานการณ ทางการเมืองที่อยูภายใตรัฐบาลรักษาการที่มีแนวโนมจะยาวนานกวาที่คาดการณซึ่งจะสงผลใหการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจไม อาจขับเคลื่อนไดอยางเต็มที่แลวราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเปนประวัติการณการแข็งคาของเงินบาทเรงขึ้นอยาง รวดเร็วตามการออนคาของเงินดอลลารสหรัฐฯและเงินทุนไหลเขาจากตางประเทศ ตลอดจนการขยับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในประเทศ ที่ดําเนินไปอยางตอเนื่องตามทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ตัวแปรทางเศรษฐกิจเหลานี้คือปจจัยหลักที่จะสรางแรง กดดันตอเสถียรภาพและการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในระยะตอไป

 

พยากรณ์การส่งออกอาหารของไทย ปี 2549

          ในชวงตนปที่ผานมา เศรษฐกิจไทยโดยรวมมีตัวแปรสงสัญญาณขยายตัวไดดีโดยเฉพาะการสงออกยังคงเปนปจจัย ขับเคลื่อนหลัก ขณะที่การนําเขามีอัตราเร่งลดลงส่วนสถานการณ์เศรษฐกิจไทยในระยะที่เหลือของปี 2549 นอกจากสถานการณ ทางการเมืองที่อยูภายใตรัฐบาลรักษาการที่มีแนวโนมจะยาวนานกวาที่คาดการณซึ่งจะสงผลใหการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจไม อาจขับเคลื่อนไดอยางเต็มที่แลวราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้นเปนประวัติการณการแข็งคาของเงินบาทเรงขึ้นอยาง รวดเร็วตามการออนคาของเงินดอลลารสหรัฐฯและเงินทุนไหลเขาจากตางประเทศ ตลอดจนการขยับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในประเทศ ที่ดําเนินไปอยางตอเนื่องตามทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ตัวแปรทางเศรษฐกิจเหลานี้คือปจจัยหลักที่จะสรางแรง กดดันตอเสถียรภาพและการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในระยะตอไป

 

อุตสาหกรรมอาหารเปนหนึ่งในภาคสวนที่ไดรับผลกระทบจากปจจัยดังกลาวเชนกัน โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของตนทุน การผลิตและการแข็งคาของเงินบาท ทําใหความสามารถในการแขงขันดานการคาของไทยถูกบั่นทอนจากราคาสงออกที่มี แนวโนมเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ปจจัยดังกลาวอาจทําใหเกิดการชะลอตัวของอุปสงคตางประเทศตอสินคาออกของไทย ดังนั้น

 

เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณดังกลาว สถาบันอาหารจึงไดปรับประมาณการผลพยากรณการสงออกอาหารที่ได นําเสนอใน เดือนธันวาคม 2548 ตลอดจนนําเสนอผลพยากรณเปนรายครึ่งปเพิ่มเติม เพื่อประเมินสถานการณในระยะ สั้น ซึ่งผลจากการประมาณการในกรณีฐานคาดวาการสงออกอาหารของไทยในครึ่งแรกของป2549 จะมีปริมาณ 11.15 ลานตัน มูลคา262,561 ลานบาท ปริมาณลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 11.5 มูลคาเพิ่มขึ้นรอยละ 7.2 โดยคาดการณวาสถานการณอาหารสงออกในครึ่งปหลังจะปรับตัวดีขึ้นกวาครึ่งปแรก (ตารางที่1) ทําใหตลอดทั้งปี คาดวาจะมีปริมาณอาหารสงออก 23.11 ลานตัน มูลคา561,530 ลานบาท ปริมาณลดลงเล็กนอยจากปกอนที่รอยละ 0.6 สวนมูลคาเพิ่มขึ้นรอยละ 8.0 ทั้งนี้ผลพยากรณดังกลาวปรับลดลงจากการประมาณการครั้งกอนที่คาดวาจะ ขยายตัวที่รอยละ 6.3 และ 9.0 ตามลําดับ

สําหรับสินคาหลักในการขับเคลื่อนการสงออกยังคงเปนสินคาในกลุมอาหารทะเลและอาหารแปรรูป เนื่องจากความ ยืดหยุนของอุปสงคตอรายไดและราคามีคาสูง (Elastic) การเปลี่ยนแปลงของปจจัยทางเศรษฐกิจดังกลาวสงผลกระทบตอการ สงออกไมมากนัก คาดวามูลคาสงออกยังขยายตัวไดในระดับสูง เชนทูนาแปรรูป มูลคาสงออกเพิ่มขึ้นรายปรอยละ 22.5 ไกและ สัตวปกมูลคาสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 16.9 กุงมีมูลคาสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 17.7 ผลไมกระปองมูลคาสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 4.7

 

ขณะที่กลุมสินคาขั้นปฐม และแปรรูปขั้นตน ความยืดหยุน ของอุปสงคตอรายได และราคามีคาต่ํา (Inelastic) การ เปลี่ยนแปลงของอุปสงค หรืออุปทานจะมีผลกระทบตอราคาสินคา อยางมาก ทําใหรายไดจากการสงออกไมมีความแนนอน โดยเฉพาะขาวที่ประมาณการวาจะสามารถสงออกไดเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 5.8 ซึ่งการสงออกที่ขยายตัวต่ําขณะที่น้ําหนักมูลคา ส่งออกที่มีคาสูงที่สุดในกลุมอาหารสงออกทั้งหมด ไดสงผลตอมูลคาอาหารสงออกอาหารโดยรวมขยายตัวไมมากเทาที่ควร

ปัจจัยกําหนดทิศทางการส่งออกอาหารป2549

          ถึงแมวาเศรษฐกิจโลกกําลังเผชิญกับปญหารุมเรารอบดาน โดยเฉพาะราคาน้ํามันซึ่งเปนตนทุนการผลิตสําคัญใน เกือบทุกภาคสวนของระบบเศรษฐกิจ ที่พุงทะยานเขาใกลระดับ 100 ดอลลารสหรัฐฯเขาไปทุกทีแตแนวโนมการเติบโตของ เศรษฐกิจโลกในป2549 ยังอยูในเกณฑดีเนื่องจากการฟนตัวของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและญี่ปุนสวนเศรษฐกิจสหรัฐฯ อยู ระหวางการปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อแกปญหาขาดดุลการคาทําใหเศรษฐกิจอาจจะชะลอลงจากปกอน แตคงไมมากนักเนื่องจาก โครงสรางเศรษฐกิจที่แข็งแกรงจึงยืดหยุนตอการเปลี่ยนแปลงไดดีทําใหการคาของไทยในตลาดหลักยังคงสามารถขยายตัวได

          ขณะที่ประเทศกําลังพัฒนาสวนใหญแมจะมีอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับสูงกวาอยางไรก็ตาม ดวยโครงสราง เศรษฐกิจที่ออนไหวซึ่งสะทอนถึงความเปราะบางที่แฝง อยูภายใตการเติบโต ทําใหสถานการณการคาของไทยในตลาดรองอาจ ไดรับผลกระทบในระดับหนึ่ง ยกเวนประเทศคูคาที่ไทยไดตกลงจัดทําเขตการคาเสรี(FTA) ระหวางกัน ซึ่งการคาที่ขยายตัว เพิ่มขึ้นภายใตFTA จะเห็นผลชัดเจนกวาอุปสงคที่ลดลงจากการภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของคูคานอกจากนี้มาตรการของรัฐ ในการผอนปรนกฎระเบียบและขอจํากัดที่เปน อุปสรรคทางการคาตาง ๆ ตลอดจนการดําเนินมาตรการเจาะตลาดเชิงรุกของ รัฐบาลยังเปนไปอยางตอเนื่อง จะสงผลใหการสงออกอาหารป2549 ขยายตัวไดตอเนื่องจากปกอน

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527