สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนกรกฎาคม 2557

กรกฎาคม 2557

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  กรกฎาคม 2557 

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤษภาคม 2557 ปรับตัว ลดลงรอยละ 6.92 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.33 ใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแตในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลาทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 23.00) ปจจัย สําคัญมาจากตลาดการบริโภคทูนากระปองในกลุม ลูกคาสวนใหญ ไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ อาเซียน มีคําสั่งซื้อโดยรวมปรับลดลงตอเนื่องเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน (เดือนม.ค.-มิ.ย.) จากภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวและเปนบวกเล็กนอย ในขณะที่ กลุมประเทศที่ยังคงมีความตองการบริโภค   ทูนา กระปองเพิ่มขึ้น ไดแก ออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง เนื่องจากความเชื่อมั่นที่มีตอภาวะทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศดังกลาว 2) เครื่องปรุงรส (ปรับลดลง รอยละ 17.61) ตลาดผูบริโภคทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศยังชะลอตัวลดลง เนื่องจากปญหาการเมือง ภายในประเทศในเดือน พ.ค. 57 ประกอบกับภาวะ เศรษฐกิจในตางประเทศที่ยังไมดีข้ึน จึงทําใหไมเกิดแรง กระตุนเพื่อการบริโภค อีกทั้งปริมาณและระดับราคา ของวัตถุดิบที่สําคัญตอภาคการผลิตมีความผันผวนเพิ่ม มากขึ้นในตลาด จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวน จึงสงผลตอกําลังการผลิตในเดือน พ.ค. 57 ใหปรับ ลดลง 3) แปงมันสําปะหลัง (ปรับลดลงรอยละ 8.39) มันสําปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญมีปริมาณผลผลิต ลดลง เปนผลจากปริมาณน้ําฝนที่มีมากเกินไปทําใหเกิด การระบาดของโรคและสรางความเสียหายใหกับผลผลิต ที่รอเก็บเกี่ยว โรงงานผูผลิตและแปรรูปบางสวนตอง เริ่มลดกําลังการผลิตลง เพื่อใหสอดรับกับวัตถุดิบที่มี เขามา ดานการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทย ตางไดรับผลกระทบจากปริมาณคําสั่งซื้อที่ลดลงเชนกัน ดวยความตองการนําเขาเพื่อนําไปใชเปนสวนประกอบ หลักในการผลิตสินคาในหลายอุตสาหกรรมไดปรับลด ปริมาณลง ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการจับจายใชสอย ของภาคครัวเรือนที่ปรับตัวลดลง 

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  กรกฎาคม 2557 

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤษภาคม 2557 ปรับตัว ลดลงรอยละ 6.92 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.33 ใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแตในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลาทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 23.00) ปจจัย สําคัญมาจากตลาดการบริโภคทูนากระปองในกลุม ลูกคาสวนใหญ ไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ อาเซียน มีคําสั่งซื้อโดยรวมปรับลดลงตอเนื่องเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน (เดือนม.ค.-มิ.ย.) จากภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวและเปนบวกเล็กนอย ในขณะที่ กลุมประเทศที่ยังคงมีความตองการบริโภค   ทูนา กระปองเพิ่มขึ้น ไดแก ออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง เนื่องจากความเชื่อมั่นที่มีตอภาวะทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศดังกลาว 2) เครื่องปรุงรส (ปรับลดลง รอยละ 17.61) ตลาดผูบริโภคทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศยังชะลอตัวลดลง เนื่องจากปญหาการเมือง ภายในประเทศในเดือน พ.ค. 57 ประกอบกับภาวะ เศรษฐกิจในตางประเทศที่ยังไมดีข้ึน จึงทําใหไมเกิดแรง กระตุนเพื่อการบริโภค อีกทั้งปริมาณและระดับราคา ของวัตถุดิบที่สําคัญตอภาคการผลิตมีความผันผวนเพิ่ม มากขึ้นในตลาด จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวน จึงสงผลตอกําลังการผลิตในเดือน พ.ค. 57 ใหปรับ ลดลง 3) แปงมันสําปะหลัง (ปรับลดลงรอยละ 8.39) มันสําปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญมีปริมาณผลผลิต ลดลง เปนผลจากปริมาณน้ําฝนที่มีมากเกินไปทําใหเกิด การระบาดของโรคและสรางความเสียหายใหกับผลผลิต ที่รอเก็บเกี่ยว โรงงานผูผลิตและแปรรูปบางสวนตอง เริ่มลดกําลังการผลิตลง เพื่อใหสอดรับกับวัตถุดิบที่มี เขามา ดานการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทย ตางไดรับผลกระทบจากปริมาณคําสั่งซื้อที่ลดลงเชนกัน ดวยความตองการนําเขาเพื่อนําไปใชเปนสวนประกอบ หลักในการผลิตสินคาในหลายอุตสาหกรรมไดปรับลด ปริมาณลง ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการจับจายใชสอย ของภาคครัวเรือนที่ปรับตัวลดลง 

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤษภาคม 2557 ปรับตัว ลดลงรอยละ 6.92 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.33 ใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแตในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลาทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 23.00) ปจจัย สําคัญมาจากตลาดการบริโภคทูนากระปองในกลุม ลูกคาสวนใหญ ไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ อาเซียน มีคําสั่งซื้อโดยรวมปรับลดลงตอเนื่องเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน (เดือนม.ค.-มิ.ย.) จากภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวและเปนบวกเล็กนอย ในขณะที่ กลุมประเทศที่ยังคงมีความตองการบริโภค   ทูนา กระปองเพิ่มขึ้น ไดแก ออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง เนื่องจากความเชื่อมั่นที่มีตอภาวะทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศดังกลาว 2) เครื่องปรุงรส (ปรับลดลง รอยละ 17.61) ตลาดผูบริโภคทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศยังชะลอตัวลดลง เนื่องจากปญหาการเมือง ภายในประเทศในเดือน พ.ค. 57 ประกอบกับภาวะ เศรษฐกิจในตางประเทศที่ยังไมดีข้ึน จึงทําใหไมเกิดแรง กระตุนเพื่อการบริโภค อีกทั้งปริมาณและระดับราคา ของวัตถุดิบที่สําคัญตอภาคการผลิตมีความผันผวนเพิ่ม มากขึ้นในตลาด จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวน จึงสงผลตอกําลังการผลิตในเดือน พ.ค. 57 ใหปรับ ลดลง 3) แปงมันสําปะหลัง (ปรับลดลงรอยละ 8.39) มันสําปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญมีปริมาณผลผลิต ลดลง เปนผลจากปริมาณน้ําฝนที่มีมากเกินไปทําใหเกิด การระบาดของโรคและสรางความเสียหายใหกับผลผลิต ที่รอเก็บเกี่ยว โรงงานผูผลิตและแปรรูปบางสวนตอง เริ่มลดกําลังการผลิตลง เพื่อใหสอดรับกับวัตถุดิบที่มี เขามา ดานการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทย ตางไดรับผลกระทบจากปริมาณคําสั่งซื้อที่ลดลงเชนกัน ดวยความตองการนําเขาเพื่อนําไปใชเปนสวนประกอบ หลักในการผลิตสินคาในหลายอุตสาหกรรมไดปรับลด ปริมาณลง ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการจับจายใชสอย ของภาคครัวเรือนที่ปรับตัวลดลง

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527